ตะแบกเกรียบ

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Lagerstroemia cochinchinensis Pierre
ชื่อเรียกอื่น : LYTHRACEAE
ชื่อวงศ์ : ตะแบกเกรียบแดง (ta baek kriap daeng) เปื๋อยกะแอ่ง (pueai ka aeng) เปื่อยแดง (pueai daeng) เปื๋อยเปลือกบาง (pueai plueal bang) เปื๋อยแมว (pueai maeo) เปื๋อยลอกเปลือก (pueai lok plueak) ลิงง้อ (ling ngo)
ลักษณะ : ไม้ต้น สูง 5-20 ม. ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปไข่แกมใบหอก กว้าง 4-6 ซม. ยาว 7-10 ซม. ปกคลุมด้วยขนสั้นสีสนิม ช่อดอกออกที่ปลายกิ่ง ยาว 3-30 ซม. มีขนรูปดาว ดอกสีม่วง เปลี่ยนเป็นสีม่วงอ่อนถึงสีขาว ผลแห้งแตก มักมีขนสีขาวหนาแน่นที่ปลายผล
การกระจายพันธุ์ : พบในป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรังทั่วไป ยกเว้นภาคใต้ ที่ระดับความสูง100-600 เมตร
ช่วงเวลาการออกดอก :
ประโยชน์ : รากเป็นยาแก้ปวดกล้ามเนื้อ มีไข่เปลือกชงดื่มแก้ท้องร่วง แก้พิษ

Scroll to Top