รูปแบบการสร้างป่า สร้างรายได้

รูปแบบการสร้างป่า สร้างรายได้

ประเภทป่าดงดิบเขา (พื้นที่ 1 ไร่)

ระดับเรือนยอด

ไม้ป่า

ไม้เกษตร

พันธุ์ไม้

จำนวนต้น

พันธุ์ไม้

จำนวนต้น

ชั้นบน

ไม้ในวงศ์ก่อ ไม้ในวงศ์ยาง ทะโล้ จําปาป่า ตะเคียนทอง

15

แมคคาเดเมีย อะโวคาโด้ เกาลัด พลับ หน่ำเลี๊ยบ

10

ชั้นรอง

มะแขว่น มะรุม เพกา มะขามป้อม หว้า มะเกี่ยง ไผ่ มะตึ่งยาง
กระทินเทพา

30

กาแฟ

45

ชั้นไม้พุ่ม

เมี่ยง หวาย ต๋าว ก๋ง กล้วยป่า

15

เสาวรส (ไม้เถา) ชาอัสสัม

วานิลลา (ไม้เถา)

25

ชั้นผิวดิน

บุก

ตามความเหมาะสม

ขมิ้น ไพล ขิง ข่า กวาวเครือ

ตามความเหมาะสม

 

ประเภทป่าดงดิบเขา (พื้นที่ 1 ไร่)

ระดับเรือนยอด

ไม้ป่า

ไม้เกษตร

พันธุ์ไม้

จำนวนต้น

พันธุ์ไม้

พันธุ์ไม้

ชั้นบน

ยางนา ยางแดง กระบก

งิ้วป่า ตะเคียนทอง กระบาก พะยูง ชิงชัน มะค่าโมง สัตตบรรณ เก็ดดำ มะแขว่น ตะแบก กันเกรา ลูกดิ่ง

15

อะโวคาโด้ ลิ้นจี่ ลําไย มะม่วง มะขาม (เลือกให้เหมาะสมกับความสูง
และอุณหภูมิ ของพื้นที่)

10

ชั้นรอง

มะไฟ มะขม แก้ว อินทนิล ลําดวน เชียด หว้า มะหาด สาธร ลําไยป่า มะหวด กระโดน เพกา สะเดา

คอแลน มะขามป้อม

30

มะเฟือง มะยม ไผ่ กาแฟ

45

ชั้นไม้พุ่ม

หวาย เข็ม ดีปลากั้ง

15

กล้วย หม่อน เร่ว ผักหวานบ้าน ดีปลี พริกไทย

25

ชั้นผิวดิน

มันป่า บุก กระทือ กระชาย กระเจียว ค้างคาวดํา กระวาน

ตามความเหมาะสม

ข่า เผือก มันเทศ ขิง
ถั่วพุ่ม ถั่วมะแฮะ พลู
ผักเชียงดาว ถั่วพู อัญชัน ซีรูเลี่ยม ไพล กระเจี๊ยบ ขมิ้น

ตามความเหมาะสม

 

ประเภทป่าดงดิบชื้น (พื้นที่ 1 ไร่)

ระดับเรือนยอด

ไม้ป่า

ไม้เกษตร

พันธุ์ไม้

จำนวนต้น

พันธุ์ไม้

พันธุ์ไม้

ชั้นบน

ตะเคียนทอง ยางกล่อง กันเกรา จําปาป่า ยางเสี้ยน หลุมพอ สยา

ไข่เขียว ยางนา ตะเคียนชันตาแมว

15

สะตอ หยี ทุเรียน หมาก

10

ชั้นรอง

กฤษณา อบเชย ไผ่ป่า เฉียงนก

จันทร์กระพ้อ

30

มะปริง

45

ชั้นไม้พุ่ม

หวาย มันปู

15

ดีปลี หวาย สละ ระกํา

25

ชั้นผิวดิน

กระวาน ดาหลา

ตามความเหมาะสม

ชะพลู ผักกูด เห็ดหูหนู เห็ดแครง

ตามความเหมาะสม

 

ประเภทป่าเบญจพรรณ (พื้นที่ 1 ไร่)

ระดับเรือนยอด

ไม้ป่า

ไม้เกษตร

พันธุ์ไม้

จำนวนต้น

พันธุ์ไม้

พันธุ์ไม้

ชั้นบน

ชิงชัน แดง สัก ประดู่ มะค่าโมง
งิ้วป่า

15

มะม่วง กระท้อน ขนุน มะขาม

10

ชั้นรอง

สะเดา มะกอกป่า มะขามป้อม หว้า สมอไทย สาธร มะตูม
กระถินณรงค์ กระถินเทพา ต๋าว
ไผ่ป่า นนทรี เพกา มะเกี๋ยง มะขม เสี้ยว มะแขว่น โมก ขี้เหล็ก ปีบ อินทนิล เสลา กานพลู

30

ไผ่เลี้ยง มะรุม มะเฟือง

แคบ้าน

45

ชั้นไม้พุ่ม

ผักหวานป่า เม็ก ติ้ว มะเม่า

15

มะกรูด มะนาว กล้วย

ผักหวานบ้าน หม่อน ชะอม มะละกอ น้อยหน่า

เหลียง ถั่วมะแฮะ ดีปลี

25

ชั้นผิวดิน

กระวาน ชะพลู ย่านาง และเห็ด

ตามความเหมาะสม

ขิง ข่า ตะไคร้ กระชาย
ขมิ้น เผือก มัน ไพล

เตยหอม

ตามความเหมาะสม

 

ประเภทป่าเต็งรัง (พื้นที่ 1 ไร่)

ระดับเรือนยอด

ไม้ป่า

ไม้เกษตร

พันธุ์ไม้

จำนวนต้น

พันธุ์ไม้

พันธุ์ไม้

ชั้นบน

ยางเหียง เต็ง รัง แดง พยอม
ยางพลวง ยางกราด ประดู่ป่า

15

มะม่วง ขนุน เกาลัด ลิ้นจี่

มะไฟ มะขาม ลําไย

10

ชั้นรอง

มะขามป้อม รัก สมอไทย
มะม่วงป่า ก่อ โมกมัน สมอพิเภก ไผ่ป่า หว้า มะกอกป่า ติ้ว ตะแบก กระบก กระโดน สะเดา มะหวด เพกา พฤกษ์ ถ่อน พะยูง ตะไคร้ต้น

30

ไผ่บงหวาน ไผ่เลี้ยงหวาน แคบ้าน พุทรา มะเฟือง มะรุม

45

ชั้นไม้พุ่ม

ผักหวานป่า เหมือดโลด ปรง
มะเม่า เป้ง แสลงใจ

15

หม่อน ชะอม ฝรั่ง กล้วย

น้อยหน่า ดีปลี มะละกอ

25

ชั้นผิวดิน

กลอย มันป่า กระเจียว ไผ่เพ็ก เปราะหอม เอื้องหมายนา ข้าวเย็นเหนือ หนอนตายอยาก ข้าวเย็นใต้ บุก แฝก กล้วยไม้ป่า กวาวเครือ ย่านาง หมาน้อย ผักกาดหญ้า

15

ไพล ขมิ้นขิง ข่า มะเขือ พริก กระชาย มันเทศ ตะไคร้ กระชายดํา

10

หมายเหตุ :

1. พืชแต่ละชนิดอาจมีมากกว่าที่ระบุในตาราง สามารถเลือกชนิดของพืชได้ตามความเหมาะสมของพื้นที่ ในแต่ละระดับชั้นเรือนยอด

2. ที่มา ข้อมูลจาก รายงานผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ “การจัดรูปแบบสร้างป่า สร้างรายได้” 29 กันยายน – 1 ตุลาคม 2557 ณ ศูนย์ประชุมและฝึกอบรมคลังก๊าซ ปตท. อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี

Scroll to Top